The Secrets of Personal
Finance
ความลับเรื่องการเงินส่วนบุคคล
I managed to totally screw things up
for myself at the ages of 20, 22, 24, 29, 33, 37, and 40 so I decided to
write everything I know about so-called “personal finance”. The words personal
finance are a total scam but I’ll save that for another time. Let’s just say,
this is about how to build wealth and preserve your wealth.
ผมได้ทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างยุ่งเหยิงตอนอายุ 20, 22, 24, 29, 33, 37 และ 40 ดังนั้น ผมจึงได้ตัดสินใจเขียนทุกอย่างที่ผมรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่า “การเงินส่วนบุคคล” คำว่า การเงินส่วนบุคคลเป็นสิ่งที่หลอกลวง แต่ผมขอเก็บเอาไว้ก่อน
ขอพูดแค่ว่า นี่เป็นเรื่องของการสร้างความมั่งคั่งและรักษาความมั่งคั่ง
The things you need to know. สิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้
The first answer is: nothing. You
need to know absolutely nothing about personal finance. Buying a cheap beer
versus buying an expensive beer will not help you get rich.
But, that seems cynical. So let me
say congratulations first. You’re 20 years old! Yay!
I can’t even really remember 20
years old. I started my first business then. And failed at it. But that’s
another story.
สิ่งแรกก็คือ ไม่มีอะไรเลย
คุณไม่จำเป็นต้องรู้อะไรเกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคล
การซื้อเบียร์ถูก ๆ กับการซื้อเบียร์ราคาแพง ๆ ไม่ได้ช่วยให้คุณร่ำรวยขึ้นมาได้ แต่นั่นดูเหมือนจะเป็นการเยาะเย้ยถากถางไปหน่อย ดังนั้นอันดับแรก
ผมจึงขอพูดว่า ยินดีด้วย ก่อน คุณอายุ 20
ปีหรือ!
ใช่เรย!
ผมแทบจำความตอนอายุ 20
ปีไม่ได้แล้ว ตอนนั้น ผมเริ่มธุรกิจแรกของผม
แต่ก็ล้มเหลว แล้วก็มีเรื่องต่อจากนั้นอีก เมื่อตอนผมอายุ
22 ปี ผมถูกไล่ออกจากโรงเรียน และถูกไล่ออกจากงาน
3 แห่ง ซึ่งในแต่ละแห่งก็มีเงินเดือนที่สูงขึ้น ๆ แต่แต่ละแห่ง
ผมก็เก็บเงินไม่ได้สักบาทเดียว
When I was 22 I was thrown out of
graduate school and then fired from 3 jobs in a row at higher and higher
salaries where I saved nothing.
When I was 24 I moved to NYC and
began the first of about ten career changes. The first rule of personal finance
is that it’s not personal and it’s not financial. It’s about your ability to
make ten changes and not get too depressed over it.
เมื่อตอนผมอายุ 24
ปี ผมได้ย้ายไปที่กรุงนิวยอร์ก และเริ่มเปลี่ยนงานสิบแห่งเป็นครั้งแรก กฎแรกของการเงินส่วนบุคคลคือ มันไม่ใช่เรื่องส่วนบุคคลอย่างที่ว่า และมันไม่ใช่เกี่ยวกับการเงินอย่างที่บอก แต่มันเกี่ยวกับความสามารถในการเปลี่ยนงาน 10
ครั้งและไม่ได้รู้สึกหดหู่ใจกับมันมากเกินไป
During those career changes I made a
lot of money. Then lost a lot. Then made a lot. Then lost a lot. Then made a
lot more.
I did this so many times I made a
study of what was working for me on the way up. And what wasn’t working on the
way down.
ในช่วงที่ทำการเปลี่ยนงานบ่อย ๆ นั้น ผมทำเงินได้เยอะมาก
แต่ก็หมดตัว จากนั้นก็ทำเงินได้เยอะ ๆ อีก และก็ถังแตกเหมือนเดิม
จากนั้น ก็ทำเงินได้มากกว่าเดิมอีก
ผมทำอย่างนี้หลายต่อหลายครั้ง ผมจึงได้ทำการศึกษาเรียนรู้ว่าอะไรใช้ได้ผลสำหรับผมในช่วงขาขึ้น และอะไรใช้ไม่ได้ผลสำหรับผมในช่วงขาลง
So I’m not an expert on anything. I
just know WHAT HAS WORKED FOR ME to create massive success. I’m admitting it
right now. I’m not just a failure.
First off, don’t bother saving
money. You get more money in the bank by making more money.
ดังผมจึงไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอะไร ผมแค่รู้ว่า
อะไรใช้ได้ผลสำหรับผม เพื่อจะสร้างความสำเร็จให้ผม ตอนนี้ผมยอมรับมันแล้ว
ผมไม่ใช่ผู้ล้มเหลว
ก่อนอื่น อย่าได้สนใจเรื่องการเก็บเงิน คุณมีเงินมากขึ้นในธนาคารได้เพราะคุณสร้างรายได้มากขึ้น
นั่นคือกฎข้อที่ 1 That’s rule #1.
People might think this is flippant.
What if they can’t make more money. Well, then, you’re going to run out of
money. No personal finance rule will help.
ผู้คนอาจจะคิดว่า นี้เป็นเรื่องที่ทะลึ่ง แต่ถ้าหากว่า พวกเขาไม่สามารถสร้างรายได้ที่มากขึ้นได้ สุดท้ายคุณก็จะไม่มีเงินเหลือ กฎการเงินส่วนบุคคลก็ไม่อาจช่วยคุณได้
Buying coffee on the street instead
of in a Starbucks is the poor man’s way to get rich. In other words, you will
never get rich by scratching out ten cents from your dollar.
People save 10 cents on a coffee and
then….overpay $100,000 for a house and then do reconstruction on it.
การซื้อกาแฟตามท้องถนนแทนที่การซื้อกาแฟแบรนด์ราคาแพงอย่างสตาร์บัคเป็นวิธีการของคนจนที่อยากจะรวย
พูดอีกอย่างก็คือ คุณไม่มีทางรวยได้จากการประหยัดเงินเพียง 10 เซ็นต์จากเงิน
1 ดอลลาร์หรอก คนมักจะประหยัด 10
เซ็นต์จากการซื้อกาแฟ และจากนั้น
ก็จ่ายเกินตัว เป็นแสนดอลลาร์เพื่อซื้อบ้านและต่อเติมบ้าน
Or they save 10 cents on a book and
then…buy a college degree that they never use for $200,000.
Now your real education can begin:
หรือพวกเขามักจะประหยัดเงิน 10
เซ็นต์จากการซื้อหนังสือ และจากนั้น
ก็เอาเงินไปซื้อใบปริญญาที่ไม่เคยใช้เป็น 200,000
ดอลลาร์ มาถึงตอนนี้
คุณคงจะรู้แล้วว่า
A)
Don’t save money. Make more. If you
think this is not so easy then remember: whatever direction you are walking in,
eventually you get there.
อย่ามุ่งแต่ประหยัดเงิน
แต่จงสร้างรายได้ให้มากขึ้น
ถ้าคุณคิดว่า การทำอย่างนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ขอให้จำไว้ว่า
ไม่ว่าคุณจะเดินไปทางทิศใดก็ตาม สุดท้ายคุณก็จะไปถึงที่นั่นอยู่ดี
B)
That said, don’t spend money on the
BIGGEST expenses in life. House and college (and kids and marriage but, of
course, there are exceptions there). Just saving on these two things alone is
worth over a million dollars in your bank account.
นั่นคือ
อย่าใช้เงินซื้อสิ่งฟุ่มเฟือยราคาแพงในชีวิต
บ้าน ใบปริญญา (และลูก
ๆ หรือชีวิตแต่งงานเป็นสิ่งที่สำคัญ แต่ แน่นอนว่า
นั่นอาจมีข้อยกเว้น)
ขอแค่ประหยัดในสองเรื่องนี้ ก็อาจทำให้บัญชีธนาคารของคุณมีเงินมากกว่าล้านบาทได้
C)
But doesn’t renting flush money down
the toilet? No, it doesn’t. Do the math. You can argue all you want but the
math is very clear as long as you are not lying to yourself.
แต่มันเป็นการใช้เงินอย่างเปล่าประโยชน์หรือเปล่า ไม่เลย
ขอให้ทำการคำนวณตัวเลขดี ๆ คุณอาจจะโต้แย้งเพื่อให้ได้มาสิ่งที่คุณต้องการ แต่การคำนวณทางคณิตศาสตร์มักจะชัดเจนกว่าตราบเท่าที่คุณไม่ได้หลอกตัวเอง
D) Haven’t studies shown that
college graduates make more money 20 years later?
No, studies have not shown that.
They show correlation but not causation and they don’t take into account
multi-collinearity (it could be that the children of middle class families have
higher paying jobs later and, oh by the way, these children also go to
college).
มีการวิจัยไหนบ้างที่บอกว่า ผู้ที่เรียนจบการศึกษาปริญญาตรีทำเงินได้มากขึ้นเมื่อ 20
ปี ผ่านไป
คำตอบคือ ไม่มีเลย ไม่มีการวิจัยใดบอกอย่างนั้น พวกเขาอาจจะแสดงให้เห็นความเกี่ยวข้องเชื่อมโยง แต่ไม่ใช่ปัจจัยที่ทำให้เป็น่เช่นนั้น อาจเป็นไปได้ว่าเด็กของครอบครัวชนชั้นกลางอาจจะมีการงานที่ดีกว่าและมีรายได้มากกว่า
โอ้ แต่พวกเขาก็ไปเรียนมหาลัยด้วย
E) Don’t invest in anything that you
can’t directly control every aspect of. In other words…yourself.
In other words:
อย่าลงทุนลงไปในสิ่งที่คุณไม่สามารถควบคุมทุกแง่มุมได้
กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ ตัวคุณเอง กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ
1.
You can’t make or save money from a
salary.And salaries have been going down versus inflation for 40 years. So
don’t count on a salary. You’re 20, please take this advice alone if you take
any advice at all.
คุณไม่สามารถที่จะสร้างรายได้หรือประหยัดเงินได้จากเงินเดือน และเงินเดือนก็มีแต่ลดค่าลงเรื่อย ๆ ด้วยเงินเฟ้อเป็นเวลา
40 ปี ฉะนั้น อย่าพึ่งเงินเดือน ถ้าคุณยังอายุ 20
ปี ขอรับคำแนะนำนี้ไว้
2.
Investing is a tax on the middle
class. There are at least 5 levels of fees stripped out of your hard-earned
cash before your money touches an investment.
การลงทุนคือภาษีอย่างหนึ่งที่ใช้กับชนชั้นกลาง
มีการเก็บค่าธรรมเนียมอยู่ 5
ระดับเป็นอย่างน้อย ที่จะเอาเงินออกจากรายได้ของคุณ ก่อนที่เงินของคุณจะเข้าไปถึงการลงทุนจริง ๆ
F) If you want to make money you
have to learn the following skills. None of these skills are taught in college.
ถ้าคุณอยากจะมีรายได้ที่มากขึ้น คุณต้องเรียนรู้ที่จะมีทักษะต่อไปนี้ ทักษะต่อไปนี้
ไม่มีใครสอนในมหาวิทยาลัย
I’m not saying college is awful or
about money, etc. I’m just saying that the only skills needed to make money
will never be learned in college:
ผมไม่ได้กำลังบอกว่า มหาวิทยลัยแย่เกี่ยวกับเรื่องเงินทอง แต่ผมแค่พูดว่า ทักษะที่จำเป็นต่อการสร้างรายได้ไม่มีทางได้เรียนรู้ในมหาวิทยาลัย
ทักษะที่ว่ามีดังต่อไปนี้คือ
·
how to sell (both in a presentation
and via copywriting) ทักษะการขาย
(ไม่ว่าจะเป็นการนำเสนอสินค้าหรือการผ่านการลอกเลียนแบบ)
·
how to negotiate (which means
win-win, not war) ทักษะการเจรจา (นั่นคือ
การเจรจาแบบ ชนะทั้งสองฝ่าย ไม่ใช่สงคราม)
·
creativity (take out a pad, write
down a list of ideas, every day) ทักษะการมีความคิดสร้างสรรค์ การเอากระดาษออกมาจดรายการความคิดใหม่ทุกวัน)
·
leadership (give more to others than
you expect back for yourself) ทักษะการเป็นผู้นำ
(การให้ผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทนเพื่อตัวคุณเอง)
·
networking (a corollary of
leadership) ทักษะการสร้างเครือข่าย(ซึ่งเป็นผลมาจากการเป็นผู้นำ)
·
how to live by themes instead of
goals (goals will break your heart)
ทักษะการดำเนินชีวิตโดยมีแก่นสารแทนที่การมีชีวิตเพื่อเป้าหมาย (เพราะเป้าหมายจะทำให้ใจของคุณแตกสลาย)
·
reinvention (which will happen
repeatedly throughout a life) ทักษะการสร้างสรรค์สิ่งใหม่
ๆ ตลอดเวลา (ซึ่งเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีกตลอดชีวิต)
·
Idea sex (get good at coming up with
ideas. Then combine them. Master the intersection)
เก่งในการสรรหาความคิดใหม่ ๆ เชื่อมโยงความคิดต่าง
ๆ เข้าด้วยกันอย่างช่ำชอง
·
the 1% rule (every week try to get
better 1% physically, emotionally, mentally)
กฎ 1% (คือ ทุก ๆ สัปดาห์พัฒนาทุกสิ่งทุกอย่างให้ดีขึ้น 1% ไม่ว่าจะเป็นทางด้านร่างกาย อารมณ์ หรือจิตใจ)
·
“the google rule” – always send
people to the best resource, even if it’s a competitor. The benefit to you
comes back tenfold “กฎแห่งกูเกิล”
ส่งคนไปยังแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดเสมอ ถึงแม้ว่าเขาจะเป็นคู่แข่งก็ตาม เพราะผลประโยชน์ที่สะท้อนกลับมาหาเราจะเพิ่มขึ้นเป็น 10
เท่า
·
give constantly to the people in
your network. The value of your network increase linearly if you get to know
more people but EXPONENTIALLY if the people you know, get to know and help each
other. จงให้แก่คนในองค์กรของคุณหรือคนในเครือข่ายของคุณอย่างสม่ำเสมอ
เพราะคุณค่าของเครือข่ายของคุณจะเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดถ้าคุณรู้จักคนมากขึ้น แต่จะเพิ่มอย่างทวีคูณ
ถ้าคนที่คุณรู้จัก รู้จักที่จะช่วยเหลือกันและกัน
·
how to fail so that a failure turns
into a beginning รู้จักความล้มเหลวเพื่อว่าความล้มเหลวจะได้เปลี่ยนเป็นการเริ่มต้นใหม่
·
simple tools to increase
productivity รู้จักเครื่องมือง่าย ๆ ในการเพิ่มผลผลิต
·
how to master a field. You can’t
learn this in school with each “field” being regimented into equal 50 minute
periods. Mastery begins when formal education ends. Find the topic that sets
your heart on fire. Then combust.
รู้จักที่จะฝึกตนให้ชำนาญในวิชาความรู้ภาคสนาม คุณไม่อาจเรียนรู้สิ่งนี้ในโรงเรียนด้วยการให้ความรู้ภาคสนามเข้ามาอยู่ในคาบเรียน 50
นาที ความเชี่ยวชาญจะเกิดขึ้นเมื่อการเล่าเรียนในโรงเรียนจบลง จงหาสิ่งที่ทำให้หัวใจของคุณร้อนรน จากนั้นก็ลงมือทำสิ่งนั้น
·
stopping the noise: news, advice
books, fees upon fees in almost every area of life. Create your own noise
instead of falling in life with the others. จงหยุดฟังเสียงรบกวนทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นข่าว หนังสือแนะนำ
ค่าโน่นค่านี่ในเกือบทุกด้านของชีวิต จงฟังเสียงของตัวเองแทนที่จะหลงเดินตามชีวิตของคนอื่น
If you do all this you will
gradually make more and more money and help more and more people. At least,
I’ve seen it happen for me and for others. ถ้าคุณทำตามอย่างนี้
คุณจะค่อย ๆ สร้างรายได้ที่มากขึ้นและมากขึ้น และสามารถช่วยคนอื่นได้มากขึ้นและมากขึ้น
อย่างน้อย ผมก็ได้เห็นมันเกิดขึ้นกับผมและกับคนอื่นอีกหลาย ๆ คน
I hope this doesn’t sound arrogant.
I’ve messed up too much by not following the above advice.
Don’t plagiarize the lives of your
parents, your peers, your teachers, your colleagues, your bosses.
Create your own life. ผมหวังว่า
สิ่งนี้คำแนะนำนี้คงจะไม่ฟังดูเหมือนเย่อหยิ่งสำหรับคุณ ชีวิตผมวุ่นวายมามากเพราะไม่ได้ทำตามคำแนะนำข้างบนนี้
อย่าคัดลอกชีวิตของพ่อแม่คุณ เพื่อนของคุณ
ครูของคุณ เพื่อนร่วมงานของคุณ หัวหน้าของคุณ
Be the criminal of their rules. จงอยู่นอกกฎของคนอื่น
จงเดินตามทางของตัวเอง
I wish I were you because if you
follow the above, then you will most likely end up doing what you love and
getting massively rich and helping many others.
I didn’t do that when I was 20. But
now, at 46, I’m really grateful I have the chance every day to wake up and
improve 1%.
ผมปรารถนาให้ผมเป็นคุณ เพราะว่า
ถ้าคุณทำตามคำแนะนำข้างบนนี้ คุณคงจะสิ้นสุดลงด้วยการได้ทำในสิ่งที่คุณรักและคงจะมั่งคั่ง และคงได้ช่วยเหลือผู้คนอีกมากมาย
ผมไม่ได้ทำอย่างนั้นตอนผมอายุ 20
ปี ตอนนี้ ผมอายุ
46 ปีแล้ว
ผมรู้สึกขอบคุณที่ผมได้มีโอกาสตื่นขึ้นมาทุกวัน และปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น 1% ทุกวัน
แหล่งที่มา http://www.jamesaltucher.com/
No comments:
Post a Comment